MEGA Certification

 มอก. 

ประโยชน์ต่อผู้ผลิต

1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต

2. ลดรายจ่าย ลดเครื่องจักร ลดขั้นตอนการทำงานซ้ำซ้อน

3. ช่วยให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพสม่ำเสมอ

4. ทำให้สินค้ามีคุณภาพดีขึ้น และมีราคาถูกลง

5. เพิ่มโอกาสทางการค้า ในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานราชการที่มีการกำหนดให้สินค้านั้นๆต้องได้รับมอก.


ประโยชน์ผู้บริโภค

1. ช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า และ

2. สร้างความปลอดภัยในการนำไปใช้

3. ในกรณีที่ชำรุด ก็สามารถหาอะไหล่ได้ง่าย เพราะสินค้ามีมาตรฐานเดียวกัน ใช้ทดแทนกันได้

4. วิธีการบำรุงรักษาใกล้เคียงกัน ไม่ต้องหัดใช้สินค้าใหม่ทุกครั้งที่ซื้อ

5. ได้สินค้าคุณภาพดีขึ้นในราคาที่เป็นธรรมคุ้มค่ากับการใช้งาน


ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจส่วนรวมหรือประโยชน์ร่วมกัน

1. ช่วยเป็นสื่อกลางเป็นบรรทัดฐานทางการค้า ทำให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีความ เข้าใจที่ตรงกัน

2. ก่อให้เกิดความยุติธรรมในการซื้อขาย

3. ประหยัดการใช้ทรัพยากรของชาติ ทำให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด

4. สร้างโอกาสทางการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทย

5. ป้องกันสินค้าคุณภาพต่ำเข้ามาจำหน่ายในประเทศ

6. สร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศ


1. มกษ.6401-2558 การปฏิบัติที่ดีสำหรับศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ

2. มกษ.9046-2560 การปฏิบัติสำหรับการผลิตทุเรียนแช่เยือกแข็ง

3. มกษ.4403-2553 การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงสีข้าว

4. มกษ.9023-2550 หลักเกณฑ์การปฏิบัติ : หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร

5. มกษ.6406-2550 หลักเกณฑ์การปฏิบัติด้านสุขลักษณะสำหรับน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม(เล่ม 1 หลักการทั่วไป)

6. มกษ.6407-2551 หลักปฏิบัติเกี่ยวกับสุขลักษณะสำหรับน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม เล่ม 2: แนวทางสำหรับการผลิตนมขั้นต้น

7. มกษ.7410-2554 หลักปฏิบัติสำหรับสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ(เล่ม 1: ข้อกำหนดทั่วไป)

8. มกษ.7414-2551 หลักปฏิบัติสำหรับสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ เล่ม 3: กระบวนการการผลิตสัตว์น้ำในภาชนะบรรจุปิดสนิท

9. มกษ.7420-2552 การปฏิบัติที่ดีด้านสุขลักษณะสำหรับการแปรรูปสัตว์น้ำเบื้องต้น

10. มกษ.9020-2551 หลักปฏิบัติด้านสุขลักษณะสำหรับเนื้อสัตว์(เล่ม 1: หลักการทั่วไป)

11. มกษ.9035-2553 การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้

12. มกษ.9039-2556 การปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตผักและผลไม้สดตัดแต่งพร้อมบริโภค

13. มกษ.9041-2557 หลักปฏิบัติสำหรับการผลิตสินค้าเกษตรแช่เยือกแข็ง

14. มกษ.9024-2550 ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมและแนวทางในการนำไปใช้

15. มกษ.9047-2560 การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงรวบรวมผักและผลไม้สด

16. Codex Alimentarius Commission: CAC/RPC 1-1969, Rev.4-2003 Recommended International Code of Practice: General Principles of Food Hygiene, Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System and Guidelines for Its Application

Affiliates

                    

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy